ไ ว รั ลโปสเตอร์ลาออกครู สาดคำคมโดนใจ อย่ าให้งานเปลี่ยนเรา แต่เราควรเปลี่ยนงาน พร้อมเปิดใจเล่าที่มากว่าจะเป็นครู
จนวันที่ถูกเรียกครูจริง ๆ กลับไม่เป็นดั่ งฝัน เผยหมดเปลือกระบบการศึกษาไnย ครูทำงานเอกส ารหนักกว่าสอนนักเรียน
วันที่ 4 มีนาคม 2565 โ ล กออนไลน์พากันกดไลก์กดแชร์โพสต์ลาออกของครูผู้ช่วยรายหนึ่ง มีการทำภาพโปสเตอร์ประกาศลาออก
อย่ างเป็นทางการ สีสดใสสะดุดต า พร้อมประโยคเด็ดแสดงถึงความยินดีกับการลาออกจากอาชี พ ทำเอาชาวเน็ตแชร์จนเป็นไวรั ลเลยทีเดียว
โดยโปสเตอร์ดังกล่าวระบุข้อความว่า “อย่ าปล่อยให้งานเปลี่ยนเรา แต่เราควรเป็นคนเปลี่ยนงาน ขอกราบลาออกจากราชการ
อดีตคุณครูสิริมาศ จันทรโคตร ในตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ถึงไม่ได้เป็นครูในอาชี พ แต่เป็นครูในตัวตน (เนี่ย) มีผลอย่ างเป็นทางการ
ตั้งแต่วันที่ 1 มี.ค. 2565 พร้อมระบุว่า ขอแสดงความยินดี เอ๊ย ไม่ใช่ ตอนเข้าไม่ได้ทำ ทำตอนออกก็ได้ ควรไม่ควรแล้วแต่จะคิด
ณ โอกาสนี้ ข้าพเจ้าขอกราบขอขมาต่อคุณม ารด า บิด า ครูบาอาจารย์ ผู้บังคั บบัญช า เพื่อนร่วมงาน และท่านทั้งหลาย
ที่ข้าพเจ้าได้เคยประม าทล่ ว งเกินต่อท่าน ทั้งทางก าย วาจา ใจ ทั้งต่อหน้าและ ลั บหลัง ทั้งที่มีเจตนาหรือไม่มีเจตนา
ทั้งที่ระลึกได้และไม่ได้ก็ดี ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันขอท่านทั้งหลายจงอโหสิก ร ร มให้แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด และนับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
ขอความ สุ ข ความเจริญ ความสิริมงคล ทรั พย์สินเงินทอง จงมีแก่ข้าพเจ้าและครอบครัว สาธุจ้า
ทั้งนี้ อดีตคุณครู สิริมาศ จันทรโคตร อายุ 26 ปี ให้สัมภาษณ์ผ่าน Thai PBS ระบุว่า โปสเตอร์แบบนี้ปกติเขาจะทำกันตอนสอบได้
หรือได้บรรจุแต่งตั้ง เรารู้สึกว่าแปลกดีเลยลองทำดู ซึ่งประโยคแรกบนโปสเตอร์เห็นมาจากโ ซเชี ย ลแล้วรู้สึกว่าเข้ากับเราดี
แต่ประโยคล่ างเราคิดเองหมดเลย แล้วผลตอบรับคือ มีคนเข้ามาแสดงความยินดีกับเราเยอะมากก่อนจะมาเป็นครู จากคนไม่ชอบมาก่อน
โดย สิริมาศ เล่าชีวิ ต ของเธอให้ฟังว่า เติบโตมาในครอบครัวข้าราชการทั้งพ่อ แม่ และพี่ชายอีก 2 คน เรามีความรู้สึกว่าไม่ชอบ
ระบบการศึกษาตั้งแต่สมัยเป็นนักเรียน แต่เมื่อสอบเข้ามหาวิทย าลัยติดคณะศึกษาศ าสตร์ ก็ไม่สร้างกำแพงให้ตัวเอง
และพย าย ามเรียนรู้อย่ างเต็มกำลังก่อนจะพบว่า การเรียนในมหาวิทย าลัยในหลักสูตรนวัตก ร ร มการศึกษาของประเทศญี่ปุ่น
ทำให้รู้สึกดีกับอาชี พครูมากขึ้น พร้อมสร้างความหวังและความอย ากเป็นครูที่ดีให้นักเรียนในอนาค ต แต่ในวันที่ถูกเรียกว่า ครู
จริง ๆ กลับไม่เป็นอย่ างที่คิด ในวันที่ถูกเรียกว่า ครู เริ่มสอนในโ ร งเรียนขย ายโอกาสแห่งหนึ่ง มีครู 20 คน สอนนักเรียน 300 คน
ตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 ถึง ม.3 ภารกิจหลักกลับไม่ใช่การสอนนักเรียน แต่เป็นการทำงานหลายหน้า ทั้งสอนควบวิช าวิทย าศ าสตร์
การดูแลงานพัสดุ และเอกส ารต่าง ๆ จนไม่ได้โฟกัสการสอนนักเรียน ทั้งที่เป็นหน้าที่หลักของครู งานเอกส ารกลายเป็นภาระ
ที่หนักกว่าการสอน ทำให้มองว่าถ้างานwวกนี้สำคัญ ทำไมไม่บรรจุไปในหลักสู ตรตอนเรียนครูไปเลย เพราะไม่ใช่ทุกคนจะทำได้
ครูรุ่นพี่ก็ไม่ได้พร้อมจะสอนเราทุกคน ต้องเจอแบบนี้เรื่อย ๆ จนรู้สึกว่าระบบงานกำลังบั่ นท อ นเรา ขณะเดียวกัน การทำวิทยฐานะ
เป็นอีกปัญห าใหญ่ที่สร้างภาระให้ทุกตำแหน่งในโ ร งเรียน ตั้งแต่ผู้บริห ารไปจนถึงภารโ ร ง งานเอกส ารและการสร้างผลงาน
กลายเป็นหินขนาดใหญ่ที่ทุกคนต้องแ บ กไว้ ทั้งที่การประเมินงานแต่ละตำแหน่งมีวิธีประเมินอื่นอยู่แล้ว แต่ด้วยวัฒนธรรมองค์กร
ที่คนทำตามคน ไม่ใช่คนทำตามระบบ คำว่า ทำไปเถอะ นิดเดียวเอง จึงกลายเป็นคำพูดที่ได้ยินบ่อย ๆ จนเริ่มชิน
พอระบบไม่ดีพอ คนก็ไม่ทำตามระบบ แต่คนทำตามคนแทน ต่อให้ไปโ ร งเรียนไหนก็อาจเป็นเหมือนกัน เราไม่อย ากรอ 4 ปี
เพื่อขอย้ ายโ ร งเรียน แล้วไปเ สี่ ย งดวงกับ ผอ. คนใหม่ หรือระบบในโ ร งเรียนอื่นอีก