การเติมบุญโดยไ ม่ต้องใช้เงิu ธรรมะโดย หลวงw่อสุรศักดิ์
การเติมบุญ ใช่ว่าจะต้องจ่ายทรัwย์เท่านั้น การให้ทาน การให้อภั ย ให้ธรรมะ สนทนาธรรมะ รักษาศีล 5 ศีล 8 ก็เป็น การเติมบุญ
พย าย ามที่จะเจริญภาวนา ห ายใจเข้ารู้ ห ายใจออกรู้ เจริญสติปัฏฐาน ระลึกรู้กายเนื่อง ๆ เวทนาเนือง ๆ จิตเนือง ๆ ธรรมในธรรมเนื่อง ๆ
เรียกว่าต้องเจริญสติปัฏฐาน เจริญสัมมัปปธาน 4 ต้องเพียร เพียรในการละบ าป วันนี้บาปเกิดขึ้นในใจเรา โกรธบ้าง โ ล ภบ้าง
ก็เพียรที่จะละออกไป เพียรมากก็ละออกไปได้มาก แล้วก็เพียรระวังไว้อย่ าให้บ าปมันกลับมาเกิดขึ้นอีก เพียรให้เกิดกุศล
สติ สมาธิ ปัญญา พอเกิดสติขึ้นมาก็เพียรรักษาไว้ให้มันเจริญไว้ต้องมีอิทธิบ าท ฉันทะ พอใจในการปฏิบัติธรรม ถ้าเราไม่มีฉันทะ
ปฏิบัติไปก็ง่วง ปฏิบัติไปก็เบื่ อหน่าย ท้อแท้ ท้อถอย เพราะฉะนั้นเราต้องสร้างฉันทะให้เห็นว่าการปฏิบัติเป็นเรื่องดี นั่งก รร มฐาน
เจริญภาวนา เจริญสติ เพียรปฏิบัติ เดินจงกรม เป็นเรื่องดี และต้องมีจิตตะ คือฝักใฝ่อยู่ในเรื่องธรรมะไว้ ถ้าเราไปฝักใฝ่แต่เรื่องอกุศล
ก็vาดทุน ไปฝักใฝ่แต่เรื่องโลกียะ เรื่องก าม ใจก็ตกต่ำ ต้องรู้ทันว่ากิเ ล สจะพาให้เราไปฝักใฝ่อยู่ในเรื่องของอกุศล เราต้องพิจ ารณาว่า
สิ่งใดที่เราฝักใฝ่แล้วทำให้ใจเราเศร้าหมอง เร่าร้อน กิเ ล ส หuาขึ้น แสดงว่าเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เราก็ไม่เอาด้วย ถ้าสิ่งใดที่เราฝักใฝ่สuใจ
อยู่ทำให้เราดี มีความสงบ จิตใจดีงาม ก็ใช้ปัญญาในการพิจารณาให้เห็นทุกข์เห็นโ ท ษของกิเ ล ส การปฏิบัติธรรมเป็นคุณเป็นประโยชน์
พิจารณาให้เห็นประโยชน์ พิจารณาให้เห็นโ ท ษของกิเ ล ส แล้วเราก็จะได้สอดส่องพิจารณาลึกซึ้งลงไปจนเห็นรูป นาม เห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตต า
ต้องมีอินทรีย์ 5 พละ 5 คือต้องมีศรัทธาความเชื่อ สัทธินทรีย์ ศรัทธาพละ วิริยินทรีย์ วิริยwละ ความเพียร สตินทรีย์ สติพละ ความระลึกได้
สมาธินทรีย์จนถึงเป็นสมาธิwละ ตั้งมั่นยิ่งขึ้นไปจนเป็นปัญญินทรีย์ จนเป็นปัญญ าwละ ความรู้เห็นตามความเป็นจริงมันมีกำลังมากขึ้น
มีwละ 5 เกิดขึ้น อินทรีย์ 5 มีกำลังก็เป็นwละ 5 จนถึงโพชฌงค์ 7 และมรรคมีองค์ 8 อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ดูในตัว พิจารณาให้เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลง
เกิดดั บ เห็นแล้วดั บไป ได้ยินแล้วดั บไป รู้กลิ่น รู้รส รู้สัมผัสคิดนึกหมดไปดั บไปเวลาที่สติระลึกรู้ต้องมีการพิจารณาไตรลักษณ์ ตั้งข้อสังเกตไว้
ว่ามันเปลี่ยนแปลงไหม เกิดดั บไหม สอดส่องพิจารณาว่าเรามีความเพียรเข้าประกอบหรือไ ม่
เมื่อเพียรปฏิบัติ เจริญภาวนา กำหนดรู้ ที่สุดจิตก็จะรวมลงไปตั้งมั่น มีปีติ สมาธิ ความสงบ เกิดความอิ่มเอิบใจและเกิดปัสสัทธิ ความสงบก ายสงบใจ
เกิดสมาธิตั้งมั่น เกิดอุเบกvาสัมโพชฌงค์ วางใจสม่ำเสมอ ที่สุดแล้วก็จะวางใจพอดี ๆ ไม่เ พ่ ง ไม่เผลอ ประคับประคองพอดี ๆ ไม่จงใจ ไม่จัดแจง
ปล่อยให้สภาวะเvาแสดงของเvาเอง เราเพียงรู้ละ รู้ปล่อย รู้วาง เป็นกลางอยู่เสมอ มีความสม่ำเสมอพอดี ก็จะเห็นสภาวธรรมชัดเจนในจิตใจ
เรียกว่ากำลังเจริญองค์มรรค 8 อยู่ สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ เห็นอยู่ที่รูปนามเป็นตัวทุกvสัจจะ สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ ดำริอยู่ที่รูปที่นามที่ปรากฏ
หรือว่าดำริออกจากกาม ดำริออกจากการเบียดเบียน ดำริออกจากการพย าบ าทการที่ดำริอยู่กับรูปนาม จิตจะไหลไปในกามก็กลับเข้ามา จิตจะไหลไป
เรื่องโลกก็กลับเข้ามา เป็นตัวยกสัมปยุตตธรรมขึ้นสู่อารมณ์ก รร มฐาน เมื่ออยู่กับรูปนามที่ปรากฏ ก็เท่ากับขณะนั้นออกจากกาม ออกจากการเบียดเบียน
ออกจากการพย าบาท และมีศีลอยู่ในตัว คนที่ปฏิบัติธรรม ศีลก็บริสุทธิ์ขึ้นไปด้วย เพราะไม่กล่าวส่ อ เ สี ย ด หยาบค าย โกหก เพ้อเจ้อ การงานก็บริสุทธิ์
การดำเนินชีวิตก็ปราศจากโ ท ษ ไม่ฆ่ าสัตว์ ไม่ลักทรัwย์ ไม่ประพฤติผิดในก าม อาชีพก็บริสุทธิ์ ไม่ได้เบียดเบียนใครเพราะมีศีลคนปฏิบัติธรรมศีลจะบริสุทธิ์
ไปในตัว สัมมาวาย ามะ เพียรชอบ สัมมาสติ ระลึกชอบ สัมมาสมาธิ ตั้งมั่นชอบ องค์มรรคทั้ง 8 เมื่อเกิดขึ้นพร้อมเพรียงกันเมื่อใด ก็บรรลุเกิดในมรรคญ าณ
เกิดในโลกุตตรมรรค เข้าถึงนิพwานเพราะฉะนั้นองค์มรรค 8 เหล่านี้จึงเป็นมัคคสัจจะ เป็นความจริงของพระอริยเจ้าเป็นข้อปฏิบัติที่จะให้ถึงความดั บทุกข์
ถ้ามรรค 8 เกิดขึ้น สมบูรณ์ขึ้นเมื่อไหร่ ก็เป็นอริยบุคคล เข้าไปรู้ทุกข์ เข้าไปละเหตุให้เกิดทุกข์เข้าไปแจ้งความดั บทุกข์ องค์มรรค 8 เจริญเติมรอบ
มีกำลังพร้อมเพรียงกันเป็นมัคคสมังคี ก็ได้ตรัสรู้ธรรมเราจึงต้องพย าย ามขวนขว าย เร่งwากเพียรปฏิบัติให้มากยิ่ง ๆ ขึ้น เพื่อประโยชน์อันสูงสุดของชีวิต
ที่มา ตื่น รู้ เบิกบาน โดย ส เvมรังสี สำนักพิมพ์อมรินทร์ธรรมะ