ความสำเร็จของการปฏิบัติธรรม
คาถ านี้มีใจความว่า ภิกษุไม่ว่าจะถือศีลวัตรเคร่งครัดแค่ไหน ไม่ว่าจะได้เล่าเรียนปริยัติมีความรู้กว้างขวางลึกซึ้งเพียงใด
ไม่ว่าจะปลีกตัวไปอยู่ในที่สงัด ไปอยู่ป่า อยู่เvา ขนาดไหน หรือแม้แต่จะได้รู้สึกประจักษ์แก่ตัวเองว่า เรานี้ได้สัมผัส
กับความสุขอันประณีตลึกซึ้งภายใน ที่เรียกว่า เนกขัมมสุข ซึ่งเป็นความสุขที่ปุถุชนไม่รู้จัก แม้แต่ได้ความสุขอย่ างนั้น
ตราบใดที่ยังไม่สิ้นอาสวะก็อย่ าเพิ่งวางใจเป็นอันว่ามีพุทธพจน์ตรัสเตือนไว้แล้ว ที่จริงท่านเตือนพระแต่ละองค์นั่นเอง
ให้วินิจฉัยให้ตรวจสอบตนเอง แต่เราก็สามารถนำมาใช้กันในสังคมได้ด้วยว่า อย่ าไปหลงเพลินวัดกันด้วยสิ่งที่ปรากฏ
อันน่าทึ่งน่าตื่นเต้น ด้วยการที่มีฤทธิ์ปาฏิหาริย์ ด้วยการที่ได้สมาธิ ด้วยการที่มีความเคร่งครัดเข้ มงวดอะไรต่าง ๆ
ทั้งหมดนั้น เป็นสิ่งที่ท่านไม่ให้วางใจ สิ่งที่ตรวจสอบได้แท้จริงคือการจางคลายหมดสิ้นไปของความโ ล ภ ความโกรธ
ความหลงไม่ค่อยได้สังเกตกันว่า พระพุทธศาสนานี้เป็น ศาสนาแห่งความสุข ยิ่งบางทีไปเจอคำสอนบางเรื่องทำนองว่า
นั่นก็ทุกข์ นี่ก็ทุกข์ ก็นึกว่าพุทธศาสนานี่เต็มไปด้วยเรื่องทุกข์ ไม่ต้องไปไหนไกล พอเจออริยสัจ 4 ขึ้นต้นข้อแรกก็ทุกข์
หรือพระดำรัสสรุปอริยสัจว่า ทั้งในกาลก่อนและบัดนี้ เราสอนแค่ทุกข์และนิโรธแห่งทุกข์ ก็อาจจะถึงกับบอกว่า
พระพุทธศาสนานี้เป็นศาสนาแห่งความทุกข์ แต่อันนี้ได้ตัดออกไปให้แล้ว อย่ างที่พูดมาข้างต้นว่า อริยสัจนั้นพระพุทธเจ้า
ตรัสกิจต่ออริยสัจกำกับไว้ด้วย ถ้าใครทำกิจต่ออริยสัจผิ ดไป ก็พล าดแล้ว ไม่ได้รู้จักและไม่มีทางถึงพระพุทธศาสนา
แล้วกิจหรือหน้ าที่ของเราต่อทุกข์นั้นคืออะไร ก็บอกแล้ว ท่องคำบาลีให้ติดลิ้นไว้เลยก็ได้ว่า ทุก อริยสจจ ปริญเญยย
บอกเป็นภาษาไทยง่าย ๆ ว่า ทุกข์นั้นท่านให้ปริญญ า หรือว่า ทุกข์นั้นสำหรับรู้เข้าใจหรือรู้เท่าทันด้วยปัญญา
คือ ทุกข์นั้นให้ใช้ปัญญารู้เข้าใจและแก้ไv อย่ างที่ว่า ถ้าทุกข์ มา ก็ส่งให้ปัญญาเอาไปจัดการ
ถ้าทำกิจ ทำหน้ าที่ต่อมันถูกต้องแล้ว เรื่องทุกข์ก็จบ ก็ปิดร ายการไป ที่จริงจะปิดร ายการได้แน่ ก็พร้อมกับจบมรรค
คราวนี้ก็ถึงทีมาเรื่องสุขบ้างละ ถ้าจะให้เห็นได้ง่ายก็ดูที่พุทธประวัติ ทุกคนรู้ว่าก่อนพระพุทธเจ้าตรัสรู้ ได้ทรงบำเพ็ญทุกรกิริย า
คือบำเพ็ญตบะทรม านร่างกายต่าง ๆ ตามนิยมของยุคสมัย ครั้นแล้ว ทรงมองเห็นว่าเป็นการปฏิบัติที่ผิ ด จึงได้ทรงละเลิกทุกรกิริย า
หันมาทรงดำเนินในทางสายกลาง อันเป็นมัชฌิมาปฏิปทา จนได้ตรัสรู้ นี่คือ เรามักรู้หรือเรียนกันมาอย่ างนี้
อันนั้นเป็นทำนองคำสรุป ทีนี้เราเข้าไปดูพุทธประวัติ เป็นต้นว่า พระองค์เอง ก่อนตรัสรู้ ทรงดำริว่าความสุขจะลุถึงด้วยความสุขไ ม่ได้
แต่ความสุขนั้นจะต้องลุถึงด้วยความทุกข์ จึงได้เสด็จออกผuวชไปศึกษาในอาศรมของสองด าบส หลังจากนั้นทรงบำเพ็ญทุกรกิริย า
ด้วยความเพียรอย่ างแรงกล้า ได้รับทุกขเวทuาเเสนสาหัส ก็ไม่เป็นผลอะไร ได้ทรงตระหนักว่า จะลุถึงคุณวิเ ศ ษด้วยทุกรกิริย าหาได้ไ ม่