เคล็ดลั บของการปฏิบัติธรรม ให้มีชีวิตชีวา
คำหนึ่งที่น่าสนใจคือคำว่า ชีวิตชีวา บางคนมีแต่ชีวิต แต่ไม่มีชีวา หรือบางโรงเรียนเข้าไปเรียนแล้วมีแต่ชีวิต แต่ไม่มีชีวา เ ด็ กไม่มีความสุข
ไม่มีความเบิกบ านแจ่มใส ไม่มีความพึงพอใจ ต่างจากบางโรงเรียนที่เข้าไปเรียนแล้วมีชีวิตชีวา เด็กร่าเริง เบิกบาน ตื่นตัว ไม่ซึม
แล้วก็มีอัจฉริยภาพ มีความฉลาดด้วยหลักสูตรปฏิบัติธรรมก็เช่นกัน บางหลักสูตรเข้าไปแล้ว จิตตื่น ก ายก็ตื่น มีชีวิตชีวา
สีหน้าแววตาแจ่มใส เบิกบาน มีความพึงพอใจ มีความสงบร่มเย็น กระฉับกระเฉง แต่บางหลักสูตรเข้าไปแล้วโยคีกลับตาลอย
ไม่มีแววเลยเคล็ดลั บของการปฏิบัติธรรมให้มีชีวิตชีวาอยู่ที่การ ปฏิบัติให้เหมือนไ ม่ได้ปฏิบัติ
ถ้าปฏิบัติเหมือนปฏิบัติก็คล้ายกับว่าเรามีคำว่า ต้อง จิตของเราจะถูกบีบเข้าไปในกรอบทันที ทำให้อึดอัด นานเข้า ๆ
เพียงแค่นึกถึงการปฏิบัติขึ้นมาก็รู้สึกเข็ดขย าด เริ่มทุกข์ เริ่มหนาวสะท้าน แค่นึกว่าจะต้องไปเดินจงกรม นั่งสมาธิ
ก็เริ่มรู้สึกถูกบีบคั้uแล้ว แค่ได้ยินคำว่า ปฏิบัติธรรม ก็ไม่เอาแล้ว อันที่จริงธรรมะนี้ควรเป็นเรื่องที่แค่นึกถึงก็มีความสุขแล้ว
แค่นึกถึงว่าจะได้เดินจงกรมก็มีความสุขแล้ว เพราะว่าจิตจำสภาวะได้ว่าเดินคราใดก็ผ่อนคลาย โปร่งเบาสบาย
ไม่หนักอก ไม่หนักใ จ ไม่มีภาระ เป็นอิสระ ฟรีฟอร์ม ตอนจะนั่งสมาธิก็เช่นกัน ธรรมะแท้ ๆ เป็นอย่ างนี้ แค่นึกถึง ยังไม่ได้ลงมือปฏิบัติ
ความสุขก็เกิดขึ้นทางใจแล้ว เพราะธรรมะที่แท้ไม่เคยมีข้อจำกัด ลองไม่ต้องจำกัดดูสิ จิตใจของเราจะรู้สึกกว้างขว างเป็นอิสระมากเลย
การปฏิบัติธรรมที่ถูกต้องนั้นควรเน้นที่การใช้ชีวิตจริง ๆ เป็นนิพพ านที่นี่ เดี๋ยวนี้ ทำแล้วต้องมีความสงบร่มเย็u และไม่ใช่ทำเพราะถูกกิเ ล ส
ตัณหาผลักดัน บีบคั้u หรือบงการจิตใจ แต่ทำเพราะมีเข้าใจอย่ างถ่องแท้ในกิจนั้น ๆ ดังนั้นในการมาภาวนา มาเจริญสติ มาปฏิบัติธรรม
เราจึงควรจะมีความเข้าใจ แล้วทำอย่ างเต็มที่ จะได้ไม่ต้องกลับมาทำแบบนี้อีกในช าติต่อ ๆ ไปชีวิตควรจะเป็นเช่นนี้ ทั้งทางโ ล กและทางธรรม