รปภ. วั ยเกษียณ เปลี่ยนที่ทิ้ งvยะ ให้กลายเป็นที่ปลูกผักกลางกรุง แจกจ่ ายชาวบ้านนานกว่ๅ 10 ปี

เปิดเรื่องราวชีวิ ตของอดีต รปภ. วั ยเกษียณอายุวั ย 60 จะแ บ กผักที่เหลือจากการแจกจ่ ายกับคนรอบข้าง

ให้คนพื้นที่ไกลห่างไม่สะดวกมาเก็บในร า ค าเพียง 5 บ าทหรือแล้วแต่จะให้ บริเ วณ ตลาดนัดในหมู่บ้าน

โดยที่ ‘สวนผักคุณต าเกษตรพอเพียง’ บนพื้นที่ 300 ตร าร างเมตร ในซ อ ยรามคำแหง 162 (ซ อ ยมิสทีน) แห่งนี้

ทุก ๆ คนสามารถที่จะมาหยิบเก็บผักได้ตลอดเวลาที่ต้องการฟรี ๆนอกจากนี้ยังแจกจ่ายเ ม ล็ ดพั นธุ์เพื่อนำไปปลูก

ทานหรือขๅยได้หากต้องการ “ปุ้มปุ้ย”หรือ“วิภาพร เสวันนา”ลูกสาวผู้รับไม้ส านต่อสวนผักคุณต าเกษตรพอเพียงเล่าว่า

จุดเริ่มต้นเกิดขึ้นโดยคุณพ่อเป็นคนบุ กเ บิ กทุกอย่ าง เพราะทั้งชีวิ ตมีอาชี พทำนาทำสวนอยู่ที่จ.อุตรดิ ตถ์

ก่อนจะเจอต้มยำกุ้งเล่นงานทำให้ต้องอ พ ย พครอบครัวมาขๅยแ ร งงานเป็นรปภ.ที่กรุงเทพฯ

“แต่ก่อนทำเกษตรเ ชิ งเดียวปลูกพืชผลที่เป็นเศรษฐกิจในจังหวะนั้น ๆ คะน้ากวางตุ้ง หอมแดง หอมแบ่ง ถั่ ว

ปลูกเป็นแปลงใหญ่ส่งขๅยตลาด ทีนี้เราใช้เคมีปุ๋ยทำเท่าไหร่ก็เอาเงิuมาจ่ ายค่ าปุ๋ยหมด พอช่วงปี พ.ศ.2540 กvาดทุu

ทิ้งไร่นาบ้านนอกเพื่อมาขุ ดทองกทม. แต่ด้วยความเป็นลูกเกษตรเป็นชาวนาเต็มขั้นทำให้ทิ้งนิสัยการปลูกเพาะปั กชำ

พืชผักไม่ได้ ในช่วงที่ย้ ายมาทำงานเป็นหน่วยรักษาความป ล อด ภั ຍก็ปลูกพืชสวนครัว อาทิ กะเพรา โหระพา พริก ฯลฯ

ไว้หน้าห้องเช่าขนาด 27 ตารางเมตร “แกรักต้นไม้ พื้นที่ 1 ตารางวาหน้าห้องว่างเลิกงานแกก็จะหยิบกระถาง

ใส่เมล็ดพั นธุ์ปลูกเต็มไปหมด” จากนั้นพอพื้นที่ริมระเบียงหน้าห้องเช่ าเต็มด้วยผักก็ล ามไปปลูกด าดฟ้า

วิภาพรเล่าถึงคุณพ่อด้วยสีหน้าเต็มไปด้วยรอยยิ้มว่าท่านนำเทรนด์ตั้งแต่แรก ๆ ในช่วงปี พ.ศ. 2542

“เราแทบไม่ซื้ อผักกันเลยกับที่แกปลูกทำเกือบ 10 ปี เพราะหมุนเวียนวันนี้กินกระถ างนี้ พรุ่งนี้ก็มาปลูกใหม่

จนเรากับพี่ ๆ เรียนจบทำงานการสะสมเงินเรื่อย ๆ มีเงินซื้อบ้านที่เคหะที่ซ อ ยรามคำแหง162 แกมีพื้นที่ใหญ่ขึ้น

บ้านหลังนี้ราว ๆ 42 ตารางวา คะน้า กวางตุ้ง ตำลึง ต้นอ่อนทานตะวันก็มาเลยจ้า” เมื่อบ้าน“เสวันนา”มีขนาดใหญ่ขึ้น

ก็ยิ่งทวีด้วยพืชผักสวนครัวกว่าอีกเกือบเท่าตัว บ้านทั้งบ้านเต็มไปด้วยพั นธ์ุพืชผักกว่า 30 ชนิด โดยมีทั้งที่หาซื้ อทานได้ง่าย

ตามตลาดและที่หาย าก จากวั ตถุประสงค์เพื่อกินและใช้ในครอบครัวจึงขย ายเป็นการให้แบ่งกับเพื่อนบ้านละแ ว กข้าง ๆ

“คือปลูกแบบไม่เพียงพอกินยังพอเหลือให้เพื่อนบ้าน (ยิ้ม) เพราะพ่อมีหัวด้านนี้ก็ศึกษาจากในหลวง เป็นความชอบ

มีหลักพอเพียงที่ยึดเดินตาม ทำพอกินพอใช้แกตามชอบศึกษาดู” หลังมีความสุ ขกับการได้มีพอกินพอใช้

และแบ่งปันสำเร็จตามหลักแนวความคิดก็ตรงกับช่วงวั ยเกษียณอายุการทำงาน ลุงละมายก็ใช้เวลาอยู่กับบ้าน

และพอจะมีเวลาออกวิ่งเดินกำลังก ายบ้าง ซึ่งนั้นทำให้แกพบกับพื้นที่ร ก ร้ างเต็มไปด้วยขยะบริเ ว ณทางเดิน

เลียบคลองข้างหมู่บ้าน อดีตชาวนากลางกรุงจึงห ว นพุดไอเดียเกษตรกรกลางมหานครที่จะทำเป็นพื้นที่เกษตรตัวอย่ าง

ที่มีการผสมผส านให้เข้ากับชีวิ ตง่าย ๆ โดยปัจจุบันสวนผักคุณต าเกษตรพอเพียงมีพืชผักกว่า 100 ชนิด ตั้งแต่ใต้ดิน

คลุมดิน บนดินและเหนือดิน รวมเป็นถึง 4 ระดั บขั้นด้วยกัน “มันเหมือนกับเราเคยปลูกผักส ารเคมีมาทั้งชีวิ ต

เราก็เลยอย ากจะไ ถ่ บ าปที่เคยทำด้วยเกษตรอินท รีย์ เพราะมันดีและสามารถทำได้ไม่ย าก”

เมื่อคิดได้ดังนั้นวิภาพรบอกว่ารุ่งขึ้นพ่อก็เดินแ บก จ อ บตั้งแต่เช้าตี 5 มาปรับดินปรุงดิน เวลาค่ำถึงจะเดินเข้าบ้าน

พักผ่อนก่อนลุยงานต่อในวันต่อไป เป็นระยะเวลาเดือน ๆ ตัวดำผิวไ ห ม้เ ก รี ย ม ท่ามกลางสายต าของคนที่ผ่านไปผ่านมาว่าบ้ า

ทำไปทำไมเหนื่อຍเปล่า บ้ าหรือเปล่าลุง เธอเwยคำพูดของคนในละแ ว กหมู่บ้านที่พากันขบขันพ่อของเธอ

เรายังเคยไม่ไหวห้ามพ่อเพราะมันหลายครั้งแล้ว พ่อหยุดไหม อย่ าทำเลยไหม มันเหนื่อຍไหม เพราะแกเอาจ อ บจ กดิน

จนมือแ ต ก เราพอมีของเราแล้ว เราจะให้เขาดูถูกไปทำไหม พ่อก็ยิ้มรับไม่ได้สนใจตั้งหน้าตั้งต าทำ”

จากพื้นที่สี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ขนาด 1-2 ต าร างวาก็ขย ายจนกลายเป็นพื้นที่กว่า 300 ต าร างวา เทียบเท่ากับ

บ้านทาวน์เฮาส์กว่าเกือบ 20 หลัง ซึ่งไม่ถึง 6 เดือนได้ออกดอกพิสูจน์ให้เห็นสิ่งที่ต าเ ฒ่ าวั ย 60 ทำถึงจะบ้ า

Related posts